ผู้สูงอายุ

อาการแบบนี้คือความจำเสื่อม หรือแค่หลงลืมตามวัย?
หนึ่งในประเด็นที่หลายคนให้ความสนใจและอาจรู้สึกกังวลเมื่ออายุมากขึ้น คือเรื่องของ “ความจำ” อาการหลงลืมเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน อาจทำให้เกิดคำถามในใจว่า “นี่เราเริ่มความจำเสื่อมแล้วหรือเปล่า?” หรือแท้จริงแล้วเป็นเพียงการหลงลืมตามวัยที่เกิดขึ้นได้ทั่วไป บทความนี้จะพาไปทำความเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างอาการหลงลืมทั่วไปกับภาวะความจำเสื่อม เพื่อให้เราสามารถสังเกตตนเองและคนที่คุณรักได้อย่างถูกต้อง

การจัดการกับยาในวัยที่โรคเรื้อรังรุมล้อม
เมื่อก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุ ร่างกายย่อมมีการเปลี่ยนแปลงและเสื่อมถอยไปตามกาลเวลา โรคเรื้อรังต่างๆ อย่างโรคเบาหวานและโรคความดันสูงจึงมักจะเริ่มเข้ามาเยือน การจัดการกับยาหลายชนิดในแต่ละวันจึงกลายเป็นเรื่องที่ท้าทายสำหรับผู้สูงวัย และอาจนำไปสู่ปัญหาการลืมรับประทานยา รับประทานยาผิดขนาด หรือรับประทานยาไม่ตรงตามเวลา ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

‘หกล้ม’ อุบัติเหตุเล็กๆ ที่นำไปสู่ปัญหาร้อยแปดในผู้สูงอายุ
การหกล้มอาจดูเหมือนเป็นอุบัติเหตุเล็กน้อยที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน แต่สำหรับผู้สูงอายุแล้ว การหกล้มไม่ใช่เรื่องที่ควรละเลย เพราะอาจนำไปสู่ปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุที่รุนแรง บ่อยครั้งทำให้ผู้สูงอายุที่เคยแข็งแรงต้องกลายเป็นผู้ป่วยติดเตียง และส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตในระยะยาว บทความนี้จะพาไปทำความเข้าใจถึงสาเหตุ ผลกระทบ และวิธีป้องกันอุบัติเหตุในผู้สูงอายุ เพื่อช่วยให้พวกเขามีชีวิตที่ปลอดภัยและมีความสุขมากขึ้น

ความเชื่อเรื่องโภชนาการในผู้สูงอายุ: อาหารเสริมจำเป็นแค่ไหน?
เมื่ออายุเพิ่มขึ้น ร่างกายของผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง ทั้งระบบการย่อยอาหาร การดูดซึมสารอาหาร และความต้องการพลังงานที่ลดลง สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการขาดสารอาหารมากขึ้น ดังนั้น การดูแลโภชนาการในผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องสำคัญ และหนึ่งในคำถามที่พบบ่อยคือ “อาหารเสริมจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุหรือไม่?”

ความเชื่อเรื่องโภชนาการในผู้สูงอายุ: สูงวัยไม่ต้องการโปรตีนจริงหรือ?
เมื่อพูดถึงโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ มักมีความเชื่อผิดๆ มากมายที่ทำให้หลายคนเข้าใจผิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร โดยเฉพาะเรื่องของโปรตีน ที่หลายคนคิดว่าผู้สูงอายุไม่จำเป็นต้องได้รับโปรตีนมากนัก เพราะไม่ต้องใช้พลังงานมากเหมือนวัยหนุ่มสาว แต่ความจริงแล้ว โปรตีนเป็นสารอาหารที่สำคัญมากสำหรับผู้สูงอายุ และการขาดโปรตีนอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพได้อย่างร้ายแรง

‘จมูก’ อวัยวะที่อาจสร้างปัญหาสุขภาพให้ผู้สูงอายุ
จมูกเป็นอวัยวะสำคัญที่มักถูกมองข้ามไป ทั้งที่จริงแล้วมันมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างมากในการดำรงชีวิตประจำวันของเรา ไม่เพียงแต่ช่วยในการหายใจ แต่ยังทำหน้าที่กรองอากาศ ควบคุมอุณหภูมิ และช่วยในการรับกลิ่น ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อคุณภาพชีวิต การละเลยการดูแลสุขภาพของจมูกของผู้สูงอายุ สามารถนำมาซึ่งปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุได้โดยที่เราไม่รู้ตัว

รวมวิธีเช็คปัญหาสายตาสำหรับผู้สูงอายุก่อนสายเกินแก้
เมื่ออายุเพิ่มขึ้น สุขภาพดวงตาของผู้สูงอายุย่อมมีการเปลี่ยนแปลง และอาจนำไปสู่ปัญหาสายตาที่รุนแรงได้หากไม่ได้รับการดูแลอย่างทันท่วงที สายตามีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ดังนั้น นอกจากการตรวจสุขภาพตาอย่างสม่ำเสมอแล้ว การตรวจสอบและสังเกตความผิดปกติของสายตาถือเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยป้องกันและรักษาโรคทางตาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทางเลือกในการรักษาเข่าเสื่อม เลือกให้เหมาะกับตัวเอง
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นสิ่งสำคัญ เพราะหากปล่อยทิ้งไว้ อาจทำให้อาการปวดรุนแรงขึ้น ข้อเข่าผิดรูป เคลื่อนไหวลำบาก และส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ในผู้สูงอายุได้ ปัจจุบัน เทคโนโลยีการแพทย์ทำให้ทางเลือกในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมในไทยมีหลากหลายขึ้น ผู้ป่วยจึงควรศึกษาและเลือกรูปแบบการรักษาให้เหมาะสมกับตัวเอง

ถนอมข้อเข่าอย่างไร ไม่ให้เข่าเสื่อมมาเยือน
ข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ แต่ปัจจุบันพบว่าคนรุ่นใหม่ก็มีโอกาสเป็นโรคนี้ได้เช่นกัน แต่นอกจากอายุแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่เราสามารถควบคุมได้เพื่อชะลอความเสื่อม มารู้จักวิธีดูแลข้อเข่าอย่างถูกต้อง ปรับไลฟ์สไตล์ และเลือกอาหารบำรุง เพื่อให้เข่าแข็งแรงไปนาน ๆ

7 การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
การออกกำลังกายสำคัญต่อผู้สูงอายุเพราะช่วยชะลอความเสื่อมของร่างกาย เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและกระดูก ลดความเสี่ยงของโรคต่างๆ และส่งผลดีต่อสุขภาพจิต
การออกกำลังกายทั้ง 7 ประเภทต่อไปนี้ ถือเป็นการออกกำลังกายเหมาะสมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ
![คนแก่นอนไม่หลับ ตื่นกลางคืน อย่าชะล่าใจ อาจมีโรคซ่อนเร้น [2024]](https://www.prachapat.com/wp-content/uploads/2024/06/คนแก่นอนไม่หลับ-ตื่นกลางดึก-อย่าชะล่าใจ-scaled.jpg)
คนแก่นอนไม่หลับ ตื่นกลางคืน อย่าชะล่าใจ อาจมีโรคซ่อนเร้น [2024]
ปัญหาการนอนไม่หลับ ตื่นกลางดึก หรือนอนหลับแล้วตื่นเช้ามากเกินไป เป็นปัญหาที่พบบ่อยและเป็นปัญหาเรื้อรังในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีโรคประจำตัวหรือผู้ป่วยติดเตียง ซึ่งการที่ผู้สูงอายุนอนไม่หลับเกิดได้จากหลายสาเหตุ

วุ้นตาเสื่อม มองเห็นจุดดำลอยไปมา เกิดจากอะไร รักษาได้หรือไม่?
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับดวงตามักจะเป็นเรื่องที่น่ากลัวเสมอ เพราะถ้าเกิดว่ามีอาการที่ร้ายแรงขึ้นมาก็อาจจะทำให้สูญเสียการมองเห็นได้เลย

โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน (โรคเมเนียส์) ทำอย่างไรดี พร้อมดูวิธีป้องกัน
อาการเวียนหัว หรือรู้สึกว่าบ้านหมุน หลายคนอาจจะไม่รู้มาก่อนว่าเป็นอาการที่เกิดจากโรคน้ำในหูไม่เท่ากัน ซึ่งสามารถสร้างความลำบาก

ไหล่ติด ขยับไม่ได้ รักษาอย่างไรให้หายขาด
เมื่ออายุเริ่มเพิ่มมากขึ้น ปัญหาหรืออาการป่วยต่าง ๆ ในร่างกายก็เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ซึ่งหนึ่งปัญหาที่มักจะมาพร้อมกับอายุที่มากขึ้นก็คือ

โรคจอประสาทตาเสื่อม เกิดจากอะไร รู้ทันสัญญาณเตือนก่อนจะสายไป
ดวงตา ถือว่าเป็นอวัยวะที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก ดังนั้น อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับดวงตามักจะเป็นเรื่องที่ค่อนข้างร้ายแรง เราจึงจำเป็น

เหน็บชา อาการที่เกิดขึ้นได้บ่อยเมื่อขาดวิตามิน B1
เพื่อสุขภาพที่ดีของร่างกาย สิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือการกินอาหารที่มีประโยชน์ และต้องมีแร่ธาตุ สารอาหารต่าง ๆ ให้ครบถ้วนด้วย

10 โรคคนแก่ มีอะไรบ้าง? โรคที่มากขึ้นตามอายุ
เมื่ออายุมากขึ้น สิ่งที่มักจะตามมาเป็นเงาก็คงจะหนีไม่พ้นอาการป่วย โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ถ้าหากไม่มีการดูและสุขภาพให้ดี